การต่อมอเตอร์ไฟฟ้าแบบไฟฟ้า 3 เฟส
การต่อสายไฟ
แบบที่ 1 คือการต่อไฟแบบสตาร์ (Star connection) กรณีที่ Nameplate มอเตอร์เขียนเป็น 220/380V (Delta/Star) ให้ต่อมอเตอร์แบบสตาร์(Star หรือ 380V)เท่านั้น เนื่องขดลวดของมอเตอร์ถูกออกแบบให้รองรับไฟ 220V เท่านั้น ดังนั้นจึงต่อแบบเดลต้าไม่ได้ เพราะจะทำให้ขดลวดไหม้และทำให้มอเตอร์เสียหาย
ผล ของการต่อมอเตอร์แบบสตาร์ ทำให้กระแสสตาร์ทมีค่าสูงกว่ากระแสพิกัดประมาณ 1.5 เท่า และเมื่อมอเตอร์รัน กระแสจะไม่สามารถสูงเท่ากระแสพิกัดได้ ทำให้มอเตอร์ไม่สามารถทำงานได้เต็มพิกัด
แบบที่ 2 เป็นการต่อสายไฟแบบ เดลต้า (Delta connection) กรณีที่ Nameplate มอเตอร์เขียนเป็น 380/660V
ให้ ต่อมอเตอร์แบบสตาร์หรือเดลต้าก็ได้ หรือแบบสตาร์-เดลต้า ผลของการต่อมอเตอร์แบบเดลต้า ทำให้กระแสสตาร์ทมีค่าสูงกว่ากระแสพิกัดประมาณ 6 เท่าหรือมากกว่า และเมื่อมอเตอร์รัน กระแสสามารถสูงเท่ากระแสพิกัดได้และทำให้มอเตอร์สามารถทำงานได้เต็มพิกัดwww.cctvengineeringservice.com
งง ตรง "ให้ต่อมอเตอร์แบบสตาร์(Star หรือ 380V)เท่านั้น เนื่องขดลวดของมอเตอร์ถูกออกแบบให้รองรับไฟ 220V เท่านั้น "
ตอบลบถ้าเนมเพลตเขียนว่า 220/380V (Delta/Star) ความหมายคือ ต่อแบบเดลต้าให้จ่ายไฟ 3 เฟส 220V และถ้าต่อ star จ่ายไฟ 3 เฟส 380V.ให้เข้าใจตามนี้ครับ ข้อความข้างต้นที่ท่านถามมาตัดทิ้งไปเลย เขียนผิด
ลบถ้าต่อแบบเดลต้า แรงดันที่ป้อนจะคร่อมขดลวดตัวเดียวครับ ซึ่งขดลวด1ขดทนแรงดันได้220vแต่ไฟที่เข้า380V จึงทำให้มอเตอร์พังได้ครับ
ตอบลบผมขอคำแนะนำเรื่องการต่อมอเตอร์3เฟส
ตอบลบแบบต่อตรงโดยไม่ต้องไช้แมกเนติกได้หรือเปล่าครับ
จะต่อเป็นปั้มน้ำพุกลางสระครับ(ไม่มีความรู้เรื่องไฟฟ้า)
ขอคำชี้แนะท่านผู้ชำนาญ
ตอบลบถ้าเนมเพลตเขียนว่า v3~400/690Y
ตอบลบต้องต่อแบบไหนครับไฟอาคาร
ต่อแบบเดลต้าครับ หรือต่อแบบสตาร์ทสตาร์-รันเดลต้าครับ
ลบขอผู้รู้ช่วยอธิบายด้วยครับ
ตอบลบ